ชื่อไทย : | เสือแผ้ว | ||||||||
ชื่อท้องถิ่น : | เอื้องตุ๊กแก(เหนือ) | ||||||||
ชื่อสามัญ : | |||||||||
ชื่อวิทยาศาสตร์ : | Staurochilus dawsonianus (Rchb.f.) Schltr. | ||||||||
ชื่อวงศ์ : | ORCHIDACEAE | ||||||||
ลักษณะวิสัย : | กล้วยไม้ | ||||||||
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : |
ลำต้น : กล้วยไม้อิงอาศัยขนาดกลาง ลำต้นกลมและแข็ง สูง 30-50 ซม. เส้นผ่านศูนย์กลางต้นประมาณ 6 มม. รากใหญ่ แข็ง และยาว ออกตามข้อ ปลายใบหยักมน ใบเรียงตัวสลับซ้ายขวา เว้นระยะระหว่างใบค่อนข้างห่าง ใบ : รูปแถบ กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 20 ซม. ดอก : กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีเหลือง มีแต้มตามขวางเป็นแถบเล็กๆ สีน้ำตาลแดง กลีบปากแผ่เป็นเดือยสีเหลืองเข้มและมีขน ออกเป็นช่อตั้งออกจากซอกใบ แยกแขนง ก้านช่อยาว 30-40 ซม. จำนวน 6-7 ดอกต่อช่อ ดอกบานเต็มที่กว้าง 2.5 ซม. ผล : |
||||||||
ระยะติดดอก - ผล : |
|
||||||||
สภาพทางนิเวศวิทยา : | นิเวศวิทยา พบตามป่าดงดิบทางภาคเหนือ ถิ่นกำเนิด การกระจายพันธุ์ ลาว พม่า การใช้งานด้านภูมิทัศน์ | ||||||||
การปลูกและการขยายพันธุ์ : | |||||||||
รายละเอียดการใช้ประโยชน์ : | ไม่ได้ระบุรายละเอียดการใช้ประโยชน์ | ||||||||
แหล่งอ้างอิง : | [1] องค์การสวนพฤกษศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2551. กล้วยไม้ไทย 2. Thai Native Orchids 2. พิมพ์ครั้งที่ 1. หจก. วนิดาการพิมพ์. เชียงใหม่. [1] อบฉันท์ ไทยทอง. 2552. กล้วยไม้เมืองไทย. พิมพ์ครั้งที่ 16. สำนักพิมพ์บ้านและสวน. กรุงเทพมหานคร. | ||||||||
ประเภทของการใช้ประโยชน์ : | ไม่ได้ระบุประเภทการใช้ประโยชน์ | ||||||||
ที่อยู่ : |
|
||||||||
หมายเหตุ : |