ชื่อไทย : | ดอกบัววิกตอเรีย | ||||||||
ชื่อท้องถิ่น : | บัวกระด้ง(กทม.) | ||||||||
ชื่อสามัญ : | Giant waterlily | ||||||||
ชื่อวิทยาศาสตร์ : | Victoria amazonica (Poeppig) Sowerby | ||||||||
ชื่อวงศ์ : | NYMPHAEACEAE | ||||||||
ลักษณะวิสัย : | ไม้น้ำ | ||||||||
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : |
ลำต้น : พืชน้ำที่มีอายุหลายปีขนาดใหญ่ ลำต้นเป็นเหง้าใหญ่อยู่ใต้น้ำมีรากอวบขาวจำนวนมากแตกยึดพื้นดินไว้ ใบ : เดี่ยวขนาดใหญ่เกิดจากลำต้นใต้ดิน ใบลอยอยู่ที่ผิวน้ำ แผ่นใบหนารูปร่างกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 100 ซม. ขอบใบกระดกตั้งขึ้นคล้ายขอบกระด้ง สูงประมาณ 15 ซม. ผิวใบด้านบนสีเขียวสดเป็นมัน ผิวใบด้านล่างเป็นสีม่วงปนแดง มีเส้นใบใหญ่นูนมีหนามแหลม ก้านใบอวบอ้วนสีเขียวเข้มมีหนามแหลม ก้านใบอวบอ้วนสีเขียวเข้มมีหนามแหลมเช่นกัน ดอก : ผล : เดี่ยว แบบผลสด มีเปลือกหนานุ่มผิวด้านนอกมีหนามแหลม เส้นผ่านศูนย์กลางของผลประมาณ 15 ซม. เมล็ด ขนาดใหญ่ประมาณ 1 ซม. มีจำนวนมาก |
||||||||
ระยะติดดอก - ผล : |
|
||||||||
สภาพทางนิเวศวิทยา : | |||||||||
การปลูกและการขยายพันธุ์ : | |||||||||
รายละเอียดการใช้ประโยชน์ : | ไม่ได้ระบุรายละเอียดการใช้ประโยชน์ | ||||||||
แหล่งอ้างอิง : | [1] พัฒน์ พิชาน. 2550. สุดยอดไม้ประดับ-ไม้ดอกหอม. ไทยควอลิตี้บุ๊คส์. กรุงเทพมหานคร. [2] สุชาดา ศรีเพ็ญ,คุณหญิง. 2542. พรรณไม้น้ำในประเทศไทย. บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนพับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน). กรุงเทพมหานคร. | ||||||||
ประเภทของการใช้ประโยชน์ : | ไม่ได้ระบุประเภทการใช้ประโยชน์ | ||||||||
ที่อยู่ : |
|
||||||||
หมายเหตุ : |