ชื่อไทย : | เอื้องสายม่วง | ||||||||
ชื่อท้องถิ่น : | เอื้องครั่ง(เลย,เหนือ) | ||||||||
ชื่อสามัญ : | |||||||||
ชื่อวิทยาศาสตร์ : | Dendrobium lituiflorum Lindl. | ||||||||
ชื่อวงศ์ : | ORCHIDACEAE | ||||||||
ลักษณะวิสัย : | กล้วยไม้ | ||||||||
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : |
ลำต้น : ใบ : รูปไข่แกมขอบขนาน กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 7-10 ซม. แผ่นใบค่อนข้างบาง ร่วงไปเมื่อต้นเจริญเต็มที่ ทิ้งใบเมื่อผลิดอก ดอก : ผล : |
||||||||
ระยะติดดอก - ผล : |
|
||||||||
สภาพทางนิเวศวิทยา : | นิเวศวิทยา พบตามป่าดิบที่ระดับ 300-800 เมตร ทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันตก และป่าสนทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ถิ่นกำเนิด การกระจายพันธุ์ อินเดีย พม่า จีน และลาว การใช้งานด้านภูมิทัศน์ | ||||||||
การปลูกและการขยายพันธุ์ : | |||||||||
รายละเอียดการใช้ประโยชน์ : | ไม่ได้ระบุรายละเอียดการใช้ประโยชน์ | ||||||||
แหล่งอ้างอิง : | [1] องค์การสวนพฤกษศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2551. กล้วยไม้ไทย 1. Thai Native Orchids 1. พิมพ์ครั้งที่ 1. หจก. วนิดาการพิมพ์. เชียงใหม่. [2] อบฉันท์ ไทยทอง. 2552. กล้วยไม้เมืองไทย. พิมพ์ครั้งที่ 16. สำนักพิมพ์บ้านและสวน. กรุงเทพมหานคร. | ||||||||
ประเภทของการใช้ประโยชน์ : | ไม่ได้ระบุประเภทการใช้ประโยชน์ | ||||||||
ที่อยู่ : |
|
||||||||
หมายเหตุ : |