โครงการพระราชดำริ...ฝนหลวง

24/02/2023      จำนวนผู้เข้าชม 17664 คน

ตามที่กรมอุตุนิยมวิทยา ได้คาดการณ์ว่าประเทศไทยจะเข้าสู่ฤดูร้อนในช่วงปลายเดือนกุมภาพันธ์ 2566 และในส่วนของประเทศไทยตอนบนจะมีอุณหภูมิเฉลี่ย 35.5 องศา สูงสุด 40-43 ซึ่งอุณหภูมิดังกล่าวจะสูงกว่าปี 2565 อีกทั้งในช่วงฤดูร้อน ประเทศไทยยังต้องประสบปัญหาหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็น ปัญหาภัยแล้ง เกิดไฟป่า ปัญหาหมอกควันเเละฝุ่นละออง PM 2.5 ฯลฯ ซึ่งที่ผ่านมาได้รับการเเก้ไขปัญหาหลากหลายวิธี อาทิ งดการเผาป่า ปลูกต้นไม้ สร้างเเนวป้องกันไฟป่า ฯลฯ

เเต่เมื่อเกิดปัญหาขั้นวิกฤต ประชาชนไม่สามารถรับมือเเละเเก้ไขได้ทัน จึงได้นำปฏิบัติการที่เพิ่มความชุ่มชื้นให้กับพื้นที่ป่า นั่นก็คือ "ปฏิบัติการฝนหลวง" พระราชดำริของในหลวงรัชกาลที่ 9 ที่พระองค์ทรงทุ่มเทพระวรกายในการคิดค้นวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการทำฝนหลวงจนประสบความสำเร็จ ตามพระราชประสงค์ในการช่วยเหลือประชาชนที่ประสบภัยแล้ง นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณ แก่ปวงชนชาวไทยอย่างหาที่สุดมิได้

วันนี้ จึงนำองค์ความรู้ โครงการพระราชดำริ “ฝนหลวง”มาฝากกัน จะมีหลักการและประโยชน์อย่างไรบ้าง ตามไปอ่านเลย...

.

.

The Royal Rainmaking Project

Nowadays, there is still a problem of smog and PM 2.5 dust causing the air quality in many provinces. It has a wide-ranging impact on ecosystems, the environment and people's health.

The king received recognition for The Royal Rainmaking Project from the EUREKA organization in 2001 for an invention that is beneficial to the world In 2009, it helped people suffering from drought and smog situations.

The Operations can help and fully support farmers in each region which is the utmost grace for the Thai people.

What are the principles of The Royal Rainmaking Project?

1. Agitation: Seeding hygroscopic chemicals stimulates a mass of air to rise higher to create humidity. This helps nature to form rain 2. clouds and it increases the potential amount of rainfall.

2. Fattening: Fattening of the rain clouds is done by scattering exothermic-hygroscopic chemicals to make droplets of water condense.

3. Attacking: Flying a plane through the heavy clouds accelerates the process of raindrop formation.

Credit: Wikipedia.org

 

 


มูลนิธิโครงการหลวง
สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เครือเจริญโภคภัณฑ์
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
ธนาคารแห่งประเทศไทย
gistda
ธนาคารกรุงไทย